วันอังคารที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลาง

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  ๒๕๕๑  และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น วิชา  ท ๓๑๑๐๑

สาระที่ ๑    การอ่าน

มาตรฐาน  ท ๑.     ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต  และมีนิสัยรักการอ่าน

ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๔
๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว   และ     บทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง  ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน 
˜ การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
- บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ เช่น บทความ      นวนิยาย และความเรียง
- บทร้อยกรอง   ประเภท โคลง และ กาพย์


๒.  ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน
๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่าน ในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
๔.  คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมินค่าเพื่อนำความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
๖.  ตอบคำถามจากการอ่านประเภทต่างๆ  ภายในเวลาที่กำหนด

˜ การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น
- ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน
- บทความ
- นิทาน
- เรื่องสั้น  
- นวนิยาย
- วรรณกรรมพื้นบ้าน
- วรรณคดีในบทเรียน
- สารคดี 
- บันเทิงคดี  
- บทร้อยกรองร่วมสมัย     

ตำนานเกี่ยวกับสถานที่ในจังหวัดราชบุรี





ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

๗.  อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน
๘. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน        สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ



๙. มีมารยาทในการอ่าน
˜ มารยาทในการอ่าน



































            สาระที่ ๒    การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.     ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ   เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ


                     
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๔
๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ   ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระสำคัญชัดเจน   
               
˜ การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่น
- การกรอกแบบรายการต่างๆ
- โครงการและรายงานการดำเนินโครงการ 



๒. เขียนเรียงความ
˜ การเขียนเรียงความ
ประเพณีในจังหวัดราชบุรี

๓. เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ  และเนื้อหาหลากหลาย 
˜ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ  เช่น
- กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
-  บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน


๘. มีมารยาทในการเขียน
˜ มารยาทในการเขียน



 




 





 

สาระที่ ๓    การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.     สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ  และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ  อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์                                     

ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๔
๑. สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู 
˜ การพูดสรุปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู


๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดู
อย่างมีเหตุผล
˜ การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดู        


. ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู
˜  การเลือกเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
˜  การประเมินเรื่องที่ฟังและดูเพื่อกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก

๕. พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง  โน้มน้าวใจ  และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม

˜ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น
- การพูดอภิปราย 



๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
˜ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด











สาระที่ ๔    หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.      เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย  การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา   ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ                    

ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๔
๒. ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์

˜ การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค
- การเพิ่มคำ 
- การใช้คำ



๔. แต่งบทร้อยกรอง

˜ กาพย์และโคลง


๖. อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคำในภาษาไทย 
˜ หลักการสร้างคำในภาษาไทย 



๗. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
˜ การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ  สื่ออิเล็กทรอนิกส์

























สาระที่ ๕    วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.     เข้าใจและแสดงความคิดเห็น  วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๔
๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น


˜ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น
- จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม
- การพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
- การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม


๒. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต
˜ การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต


๓. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
˜ การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
- ด้านวรรณศิลป์
- ด้านสังคมและวัฒนธรรม





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น