วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่                 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย                               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่       
หน่วยการเรียนรู้       เรื่องนิราศพระบาท         รายวิชาภาษาไทย      รหัสวิชา     ๓๑๑๐๑
เวลาเรียน  ๑๐    ชั่วโมง
…………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู้  
ท๑.๑                      ตัวชี้วัด   ม.๔-๖/๑-๙
ท๕.๑                     ตัวชี้วัด   ม.๔-๖/๑-๖
ท๒.๑                     ตัวชี้วัด   ม๔-๖/๓,ม๔-๖/๘
ท๓.๑                     ตัวชี้วัด  ม.๔-๖/๑,ท๓.๑ม.๔-๖/๒
ท ๔.๑                   ตัวชี้วัด   ม. ๔-๖/๔
สาระสำคัญ
            การอ่านวรรณคดีแต่ละเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้ประวัติผู้แต่ง สามารถวิเคราะห์วรรณคดีนำมาบรูณาการกับหลักภาษาไทยเพื่อนำไปใช้ในชีวิต อีกทั้งยังเป็นการยกย่องชื่นชมและรำลึกคุณงามความดีความรู้ความสามารถของผู้แต่งที่ได้สร้างสรรค์มรดกทางภาษาไว้     ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และเกิดความภาคภูมิใจในฝีมือคนไทย
จุดประสงค์การเรียนรู้
                        ๑ .  อ่านวรรณคดีประเภทนิราศ  ถอดคำประพันธ์ได้  สรุปจับใจความเรื่องต่าง ๆ  อย่างเข้าใจแล้วแปลความโดยใช้วิจารณญาณได้   (K)
                        ๒.     วิเคราะห์  วิจารณ์   เนื้อหาและรูปแบบได้                (P)
                        ๓.     อ่านทำนองเสนาะได้ถูกต้อง (P)
                       ๔.      อ่านกวีนิพนธ์ประเภทกลอนนิราศได้อย่างเข้าใจและเห็นคุณค่า (A)
                        ๕.      แต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนนิราศได้ (P)
                        ๖.     เขียนย่อความได้ (P)
                        ๗.     มีมารยาทในการอ่าน  (A)
    สาระการเรียนรู้
                    ๑.     ประวัติ และเนื้อเรื่องนิราศพระบาท
                    ๒.     การอ่านจับใจความ อ่านวิเคราะห์ และวิจารณ์วรรณคดี
                    ๓ .    การแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ
                      .   การอ่านทำนองเสนาะ
                     ๕ .    การย่อความ
                   
            การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                    ชั่วโมงที่ 
                     ๑.     ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ  
                     ๒.     นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน   เรื่อง  นิราศพระบาท
                     ๓ .    สนทนาเรื่องนิราศต่างๆ ที่นักเรียนรู้จัก
                     ๔.     นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง  กลอนนิราศและที่มาของเรื่อง ถามนักเรียน
เป็นรายบุคคล
                         ร่วมกันสรุปเรื่องกลอนนิราศและที่มาของเรื่อง
                    ชั่วโมงที่  -
                    ๖.     นักเรียนอ่านกลอนนิราศเป็นทำนองเสนาะ
                    ๗.     ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านทำนองเสนาะประเภทกลอนนิราศ   (ตอนที่เป็นบทอาขยาน)  ฝึกอ่านเป็นกลุ่ม และรายบุคคล   ให้นักเรียนมาท่องอาขยานนอกเวลากับครู
                    ๘.     นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น  ๖ กลุ่ม ศึกษา  ดังนี้
                                กลุ่มที่               ถอดคำประพันธ์และสรุปความ
                                กลุ่มที่               ถอดคำประพันธ์และสรุปความ
                                กลุ่มที่                คำศัพท์และสำนวน
                                กลุ่มที่                เส้นทางการเดินทาง
                                กลุ่มที่                วิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์
                                กลุ่มที่                 วิเคราะห์คุณค่าด้านอื่น(ไม่ใช่วรรณศิลป์)
                    ๙.     นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานหน้าห้อง
                    ๑๐.   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและทำใบงาน
                    ๑๑.    นักเรียนทดสอบหลังเรียน  เรื่องนิราศพระบาท
ชั่วโมงที่  ๗-๙
                    ๑๒.    แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เรื่องการย่อความ
                    ๑๓.    ให้นักเรียนอ่านใบความรู้เรื่องการย่อความ  แล้วสนทนากัน
                    ๑๔.     นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น      กลุ่ม  ศึกษาการย่อความจากสื่อต่างๆ ดังต่อไปนี้  โดยการจับฉลาก
                กลุ่มที่        วรรณคดี ๑ เรื่อง
               กลุ่มที่       บทกวีนิพนธ์   ๑ เรื่อง
                กลุ่มที่        บทความจากหนังสือพิมพ์
                กลุ่มที่       วรรณกรรมพื้นบ้าน
                กลุ่มที่       บทกวีนิพนธ์   ๑ เรื่อง

                                กลุ่มที่       บทความจากหนังสือนิตยสาร
                    ๑๕.     เมื่อนักเรียนจับฉลากได้ชื่อเรื่องให้นักเรียนค้นหาในห้องสมุด   ให้เวลา    ชั่วโมง
                    ๑๖ .     ให้แต่ละกลุ่มออกมารายงาน
                    ๑๗.     ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
ชั่วโมงที่  ๑๐
                    ๑๘.  แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เรื่องการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ
                    ๑๙.    ให้นักเรียนทบทวนเรื่องกลอนนิราศ
                    ๒๐. ให้นักเรียนจับคู่กันแล้วแต่งกลอนนิราศ  จำนวน  ๒๐ คำกลอน
                    ๒๑.  เมื่อทำงานเสร็จแล้ว  ให้นักเรียนออกมาอ่านหน้าห้องเรียน
                    ๒๒. สรุปวิจารณ์และสรุป
สื่อการเรียน
          ๑.   ใบความรู้ เรื่องกลอนนิราศ
          .  แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องนิราศพระบาทและการสะกดคำ
          . ใบงานเรื่องนิราศพระบาท
          .ใบความรู้เรื่อง  การวิเคราะห์วรรณกรรมร้อยกรอง
          . ใบงานเรื่องการย่อความ
 แหล่งการเรียนรู้
. ห้องสมุด
.  อินเทอร์เน็ท
. หนังสือพิมพ์/วารสาร
การวัดและประเมินผล
          ผู้ประเมิน
          ครูผู้สอน เพื่อนนักเรียนและตัวนักเรียน
  สิ่งที่ต้องการประเมิน
                   ๑.  การทำงานร่วมกัน
                   .   การนำเสนอผลงานกลุ่ม
                   .   ผลงาน
                   .   การอ่านทำนองเสนาะ
                   ๕.   ผลสัมฤทธิของการเรียน
  ประเด็นการประเมิน  
.  การทำงานร่วมกัน
                   ) คณะทำงาน
                   ) ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
                   )  ขั้นตอนการทำงาน
)  เวลา
                   )  ความร่วมมือในการทำงาน
          .  การนำเสนอผลงานกลุ่ม
                   ) กลวิธีการนำเสนอ
                   )  เนื้อหา
                   )  ภาษา
) เวลา
. ผลงาน
                   ) ภาษา
                   ) เนื้อหา
.  การอ่านทำนองเสนาะ
๕.   ผลสัมฤทธิของการเรียน
คะแนนทดสอบ ก่อน-หลังเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน
.  เกณฑ์การประเมินการทำงานกลุ่ม

ประเด็น

เกณฑ์การให้คะแนน

การประเมิน

.คณะทำงาน
มีประธาน  เลขานุการ  ผู้นำเสนอ  ผู้ร่วมงาน
ขาดองค์ประกอบ อย่าง
ขาดองค์ประกอบ อย่าง
ขาดองค์ประกอบ อย่าง
. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ทุกคนมีหน้าที่และรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตน
มีผู้มีหน้าที่ แต่ไม่รับผิดชอบ ๑คน
มีผู้มีหน้าที่ แต่ไม่รับผิดชอบ ๒คน
มีผู้มีหน้าที่ แต่ไม่รับผิดชอบ ๒คน
ขึ้นไป
. ขั้นตอนการทำงาน
)วางแผนการทำงาน
)แบ่งภาระงาน
)  ปฏิบัติตามแผนและภารงาน
)  พัฒนางานร่วมกัน
ขาด ๑ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด ๒ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด มากกว่า๒ขั้นตอนขึ้นไป
. เวลา
เสร็จก่อนกำหนด และงาน
มีคุณภาพ
เสร็จตามกำหนด
และงานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันตามกำหนดแต่งานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันตามกำหนดและงานไม่มีคุณภาพ
.ความร่วมมือในการทำงาน
ทุกคนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
ร้อยละ ๖๐ ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
ร้อยละ ๔๐ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ


.   เกณฑ์การประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม

ประเด็น

เกณฑ์การให้คะแนน

การประเมิน

.กลวิธีการนำเสนอ
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง
. มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
. น่าสนใจชวนให้ติดตาม
. มีความมั่นใจในการนำเสนอ
ขาด ๑ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด ๒ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด มากกว่า๒ขั้นตอนขึ้นไป
. เนื้อหา
. มีการเรียงลำดับเนื้อหา
.เนื้อหามีความต่อเนื่อง
. เนื้อหาสอคล้อง
. เนื้อหามีสาระประโยชน์
ขาด ๑ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด ๒นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด มากกว่า๒ขั้นตอนขึ้นไป
. ภาษา
. ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี
   เสียงดังฟังชัดเจน
. ใช้ภาษาเหมาะสม
. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
. มีการใช้สำนวนโวหาร
ขาด ๑ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด ๒ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน
ขาด มากกว่า๒ขั้นตอนขึ้นไป
. เวลา
พูดจบเนื้อหา ภายในเวลาที่กำหนด
ใช้เวลามากหรือน้อยกว่าที่กำหนดไม่เกิน    นาที
ใช้เวลามากหรือน้อยกว่าที่กำหนดไม่เกิน    นาที
ใช้เวลามากหรือน้อยกว่าที่กำหนดมากกว่า  นาที






.   เกณฑ์การประเมินการนำเสนอผลงาน

ประเด็น

เกณฑ์การให้คะแนน

การประเมิน

.ภาษา
. เขียนคำและวลีสอดคล้องกับเนื้อหา
. เรียบเรียงประโยค  สอดคล้องกับเนื้อหา
. ใช้คำเชื่อมโยงถ้อยคำได้สละสลวย
. มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
. เขียนคำและวลีสอดคล้องกับ     เนื้อหา
. เรียบเรียงประโยค  สอดคล้องกับเนื้อหา
. ใช้คำเชื่อมโยงถ้อยคำได้สละสลวย
เขียนคำและวลีสอดคล้องกับ   เนื้อหา
. เรียบเรียงประโยค  สอดคล้องกับเนื้อหา


เขียนคำและวลีสอดคล้องกับ เนื้อหา

. เนื้อหา
. เนื้อหาตรงกับข้อเท็จจริง
. เนื้อหาเป็นไปตามลำดับขั้นตอน
.รายละเอียดครอบคลุม
.เนื้อหาสอดคล้องกับงาน
. เนื้อหาตรงกับข้อเท็จจริง
. เนื้อหาเป็นไปตามลำดับขั้นตอน
.รายละเอียดครอบคลุม
. เนื้อหาตรงกับข้อเท็จจริง
. เนื้อหาเป็นไปตามลำดับขั้นตอน

 เนื้อหาตรงกับข้อเท็จจริง



๔.  เกณฑ์การประเมิน การอ่านทำนองเสนาะ

เกณฑ์การให้คะแนน

อ่านทำนองเสนาะได้ถูกต้องตามลักษณะท่วงทำนอง มีน้ำเสียงไพเราะ สื่ออรรถรสหรือจินตภาพได้ชัดเจน
อ่านทำนองเสนาะได้ถูกต้องตามลักษณะท่วงทำนอง แต่ยังมีข้อบกพร่องในการใช้น้ำเสียงเพื่อสื่ออรรถรสหรือจินตภาพ
อ่านทำนองเสนาะได้แต่ยังไม่ถูกต้องเท่าที่ควรและยังมีข้อบกพร่องในการใช้น้ำเสียงเพื่อสื่ออรรถรสหรือจินตภาพ
ไม่มีความพยายามในการฝึกอ่าน จึงอ่านได้ไม่ดี และมีข้อบกพร่องในการอ่านมาก



๕.  เกณฑ์การประเมิน  ผลสัมฤทธิของการเรียน  การทำแบบทดสอบหลังเรียน
          ทำคะแนน ได้   -๑๐   อยู่ในระดับ    ดีมาก
          ทำคะแนน ได้   -    อยู่ในระดับ    ดี
          ทำคะแนน ได้           อยู่ในระดับ    พอใช้
          ทำคะแนน ได้          อยู่ในระดับ    ผ่านเกณฑ์
          ทำคะแนน ได้ต่ำกว่า      อยู่ในระดับ    ไม่ผ่านต้องปรับปรุง
.  เกณฑ์การประเมินผล
          ๑๐.. การประเมินการทำงานกลุ่ม  ต้องได้ระดับ 
          ๑๐..  การประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม  ต้องได้ระดับ  
                   ๑๐..  การประเมินผลงาน    ต้องได้ระดับ    
                   ๑๐..   การประเมินการอ่านทำนองเสนาะ   ต้องได้ ระดับ 
๑๐..   การประเมินผลสัมฤทธิของการเรียน  การทดสอบหลังเรียน  ต้องได้ระดับ     ผ่านเกณฑ์



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น